วันเสาร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2554

สาระที่เป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6

จำแนกตามหัวข้อหลัก
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
พื้นฐาน

  • จำนวนจริง (14/40 ชั่วโมง)
  • เลขกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ (8/40 ชั่วโมง)
เพิ่มเติม

  • ระบบจำนวนจริง (38/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
  • ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น (14/80 หรือ 10/60 ชั่วโมง)
  • จำนวนเชิงซ้อน (22/80 หรือ 16/60 ชั่วโมง)
สาระ ที่ 2 การวัด
พื้นฐาน

  • อัตราส่วนตรีโกณมิติและการนำไปใช้ (12/40 ชั่วโมง)
เพิ่มเติม
-
สาระที่ 3 เรขาคณิต
พื้นฐาน

  • -
เพิ่มเติม

  • เรขาคณิตวิเคราะห์ (42/80 หรือ 32/60 ชั่วโมง)
  • เวกเตอร์ในสามมิติ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
สาระที่ 4 พีชคณิต
พื้นฐาน

  • ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (28/40 ชั่วโมง)
  • ลำดับและอนุกรม (18/40 ชั่วโมง)
  • เซต (10/40 ชั่วโมง)
  • การให้เหตุผล (8/40 ชั่วโมง)
เพิ่มเติม

  • ตรรกศาสตร์เบื้องต้น (28/80 หรือ 20/60 ชั่วโมง)
  • ฟังก์ชัน (18/80 หรือ 13/60 ชั่วโมง)
  • ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
  • ฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์ใช้ (40/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
  • เมทริกซ์และดีเทอร์มินันต์ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
  • กำหนดการเชิงเส้น (10/80 หรือ 7/60 ชั่วโมง)
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
พื้นฐาน

  • สถิติเบื้องต้น (40/40 ชั่วโมง)
  • ความ น่าจะเป็น (22/40 ชั่วโมง)
เพิ่มเติม

  • การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น (40/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
  • การแจกแจงปกติ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
  • ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
  • ความน่าจะเป็น (40/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ค6.1 ม.4 – 6/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ม.4 – 6/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ม.4 – 6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ม.4 – 6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและนำเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ค6.1 ม.4 – 6/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
ค6.1 ม.4 – 6/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

สาระ เพิ่มเติม 1 แคลคูลัส
พื้นฐาน

  • -
เพิ่มเติม

  • ลำดับ อนันต์และอนุกรมอนันต์ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
  • แคลคูลัสเบื้องต้น (50/80 หรือ 38/60 ชั่วโมง)
สาระเพิ่มเติม 2 วิยุตคณิต
พื้นฐาน

  • -
เพิ่มเติม

  • ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น (18/80 หรือ 14/60 ชั่วโมง)
จำแนกตามหัวข้อย่อย
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
พื้นฐาน
จำนวนจริง (14/40 ชั่วโมง)
1. จำนวนจริง
2. สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
2.1 การเท่ากันในระบบจำนวน
2.2 การบวกและการคูณในระบบจำนวนจริง
3. การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง
3.1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
4. การไม่เท่ากัน
5. ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง

เลขกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ (8/40 ชั่วโมง)
1. รากที่ n ของจำนวนจริง
2. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
เพิ่มเติม
ระบบจำนวนจริง (38/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
1. จำนวนจริง
2. สมบัติของระบบจำนวนจริง
3. การแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว
4. สมบัติการไม่เท่ากัน
5. ช่วงและการแก้อสมการ
6. ค่าสัมบูรณ์
7. การแก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น (14/80 หรือ 10/60 ชั่วโมง)
1. การหารลงตัว
2. ขั้นตอนวิธีการหาร
3. ตัวหารร่วมมาก
4. ตัวคูณร่วมน้อย
จำนวนเชิงซ้อน (22/80 หรือ 16/60 ชั่วโมง)
1. การสร้างจำนวนเชิงซ้อน
2. สมบัติเชิงพีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน
3. รากที่สองของจำนวนเชิงซ้อน
4. กราฟและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
5. จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
6. รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
7. สมการพหุนาม

สาระที่ 2 การวัด
พื้นฐาน
อัตราส่วนตรีโกณมิติและการนำไปใช้ (12/40 ชั่วโมง)
1. อัตราส่วนตรีโกณมิติ
2. การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนตรีโกณมิติ
เพิ่มเติม
-


สาระที่ 3 เรขาคณิต
พื้นฐาน
-
เพิ่มเติม
เรขาคณิตวิเคราะห์ (42/80 หรือ 32/60 ชั่วโมง)
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
1.1 ระยะทางระหว่างจุดสองจุด
1.2 จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด
1.3 ความชันของเส้นตรง
1.4 เส้นขนาน
1.5 เส้นตั้งฉาก
1.6 ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรง
1.7 ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด
2. ภาคตัดกรวย
2.1 วงกลม
2.2 วงรี
2.3 พาราโบลา
2.4 ไฮเพอร์โบลา
2.5 การเลื่อนกราฟ
เวกเตอร์ในสามมิติ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
1. ระบบพิกัดฉากสามมิติ
2. เวกเตอร์
3. เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก
4. ผลคูณเชิงสเกลาร์
5. ผลคูณเชิงเวกเตอร์

สาระที่ 4 พีชคณิต
พื้นฐาน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (28/40 ชั่วโมง)
1. ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
1.1 ความสัมพันธ์
1.2 โดเมนและเรนจ์
1.3 ฟังก์ชัน
2. ฟังก์ชันเชิงเส้น
3. ฟังก์ชันกำลังสอง
3.1 กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
3.2 การนำกราฟไปใช้ในการแก้สมการและอสมการ
3.3 การแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันกำลังสองและกราฟ
4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
5. ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์
6. ฟังก์ชันขั้นบันได
ลำดับและอนุกรม (18/40 ชั่วโมง)
1. ลำดับ
1.1 ความหมายของลำดับ
1.2 การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ
1.3 ลำดับเลขคณิต
1.4 ลำดับเรขาคณิต
2. อนุกรม
2.1 อนุกรมเลขคณิต
2.2 อนุกรมเรขาคณิต
เซต (10/40 ชั่วโมง)
1. เซต
2. เอกภพสัมพัทธ์
3. สับเซตและเพาเวอร์เซต
4. ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
การให้เหตุผล (8/40 ชั่วโมง)
1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย
2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย
เพิ่มเติม
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น (28/80 หรือ 20/60 ชั่วโมง)
1. ประพจน์
2. การเชื่อมประพจน์
3. การหาค่าความจริงของประพจน์
4. การสร้างตารางค่าความจริง
5. รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน
6. สัจนิรันดร์
7. การอ้างเหตุผล
8. ประโยคเปิด
9. ตัวบ่งปริมาณ
10. ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งประมาณตัวเดียว
11. สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
12. ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งประมาณสองตัว
ฟังก์ชัน (18/80 หรือ 13/60 ชั่วโมง)
1. ความสัมพันธ์
1.1 ผลคูณคาร์ทีเซียน
1.2 ความสัมพันธ์
1.3 โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
2. ตัวผกผันความสัมพันธ์
3. ฟังก์ชัน
3.1 ความหมายฟังก์ชัน
3.2 การดำเนินการของฟังก์ชัน
3.3 ฟังก์ชันผกผัน
3.4 เทคนิคการเขียนกราฟ
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
1. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
2. รากที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
5. ฟังก์ชันลอการิทึม
6. การหาค่าลอการิทึม
7. การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม
8. สมการเอกซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม
9. การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์ใช้ (40/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
1. ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
2. ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
3. ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
4. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
5. การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
6. กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
8. ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
9. เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
10. กฎของโคไซน์และไซน์
11. การหาระยะทางและความสูง
เมทริกซ์และดีเทอร์มินันต์ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
1. ระบบสมการเชิงเส้น
2. เมทริกซ์
3. ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
4. การหาตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
5. การใช้เมทริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น
กำหนดการเชิงเส้น (10/80 หรือ 7/60 ชั่วโมง)
1. กราฟของอสมการเชิงเส้น
2. กราฟของระบบอสมการเชิงเส้น
3. การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีใช้กราฟ

สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
พื้นฐาน
สถิติเบื้องต้น (40/40 ชั่วโมง)
1. สถิติและข้อมูล
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
2. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
2.1 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล
2.1.1 การแจกแจงความถี่สะสม
2.1.2 การแจกแจงความถี่สัมพัทธ์
2.1.3 การแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ์
2.2 การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ
2.2.1 ฮิสโทแกรม
2.2.2 แผนภาพต้น – ใบ
2.3 การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูล
เปอร์เซ็นไทล์
การหาเปอร์เซ็นไทล์ของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
2.4 การวัดค่ากลางของข้อมูล
2.4.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้ำหนัก
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว
2.4.2 มัธยฐาน
2.4.3 ฐานนิยม
2.4.4 ข้อสังเกตและหลักเกณฑ์ที่สำคัญในการใช้ค่ากลางชนิดต่าง ๆ
2.5 การวัดการกระจายของข้อมูล
2.5.1 พิสัย
2.5.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.5.3 ความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่ ค่ากลาง และการกระจายของข้อมูล
3. การสำรวจความคิดเห็น
3.1 วิธีสำรวจความคิดเห็น
3.1.1 ขอบเขตของการสำรวจ
3.1.2 วิธีเลือกตัวอย่าง
3.1.3 การสร้างแบบสำรวจความคิดเห็น
3.1.4 การประมวลผลและวิเคราะห์ความคิดเห็น
3.2 ตัวอย่างเรื่องที่เคยมีการสำรวจความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ
3.3 การนำผลการสำรวจความคิดเห็นไปใช้ประโยชน์
ความน่าจะเป็น (22/40 ชั่วโมง)
1. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
2. ความน่าจะเป็น
2.1 การทดลองสุ่ม
2.2 ความน่าจะเป็น
เพิ่มเติม
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น (40/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
1. ค่ากลางของข้อมูล
1.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
1.2 มัธยฐาน
1.3 ฐานนิยม
1.4 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
2. การวัดตำแหน่งที่หรือตำแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล
3. การวัดการกระจายของข้อมูล
3.1 การวัดการกระจายสัมบูรณ์
3.2 การวัดการกระจายสัมพัทธ์
3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่ ค่ากลาง และการกระจายของข้อมูล
การแจกแจงปกติ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
1. ค่ามาตรฐาน
2. การแจกแจงปกติ และเส้นโค้งปกติ
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
2. แผนภาพการกระจาย
3. การประมาณค่าของค่าคงตัวโดยใช้วิธีกำลังสองน้อยสุด
4. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา
ความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ (40/80 หรือ 30/60 ชั่วโมง)
1. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
2. วิธีเรียงสับเปลี่ยน
3. วิธีจัดหมู่
4. ทฤษฎีบททวินาม
5. ความน่าจะเป็นและกฎที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น

สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ค6.1 ม.4 – 6/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ม.4 – 6/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ม.4 – 6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ม.4 – 6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและนำเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ค6.1 ม.4 – 6/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาตร์ และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
ค6.1 ม.4 – 6/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์


สาระเพิ่มเติม 1 แคลคูลัส
พื้นฐาน
-
เพิ่มเติม
ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันต์ (20/80 หรือ 15/60 ชั่วโมง)
1. ลำดับอนันต์
1.1 ความหมายของลำดับ
1.2 รูปแบบการกำหนดลำดับ
1.3 ลำดับเลขคณิต
1.4 ลำดับเรขาคณิต
1.5 ลิมิตของลำดับ
2. อนุกรมอนันต์
2.1 ผลบวกของอนุกรมอนันต์
2.2 สัญลักษณ์แทนการบวก
แคลคูลัสเบื้องต้น (50/80 หรือ 38/60 ชั่วโมง)
1. ลิมิตของฟังก์ชัน
2. ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
3. ความชันของเส้นโค้ง
4. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
5. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้สูตร
6. อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ
7. อนุพันธ์อันดับสูง
8. การประยุกต์อนุพันธ์
9. ปฏิยานุพันธ์
10. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
11. ปริพันธ์จำกัดเขต
12. พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง

สาระเพิ่มเติม 2 วิยุตคณิต
พื้นฐาน
-
เพิ่มเติม
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น (18/80 หรือ 14/60 ชั่วโมง)
1. กราฟ
2. ดีกรีของจุดยอด
3. แนวเดิน
4. กราฟของออยเลอร์
5. การประยุกต์ของกราฟ

ที่มา : ตัวอย่างการจัดสาระการเรียนรู้รายภาค คณิตศาสตร์ พื้นฐานและเพิ่มเติม ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4 - ม.6) เอกสารประกอบ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 "คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
และจากสารบัญหนังสือแบบเรียน  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544  สสวท.  กระทรวงศึกษาธิการ

3 ความคิดเห็น:

ป้ายกำกับ (จำนวนเรื่อง)

โปรแกรมครูบ๋อม (69) เกี่ยวกับครูบ๋อม (64) เรียนคณิตศาสตร์ (56) ฝากเผยแพร่บทคัดย่องานวิจัย (43) Form/ข้อเสนอแนะ (32) การวัดและประเมินผล (24) ตรีโกณมิติ (23) วลี กลุ่มคำ แผนภาพ (20) สวนข้างหน้าต่าง (20) เกษตรเกินไม่เป็นตัวอย่าง (20) ยุทธวิธีการสอนของครูบ๋อม (19) SGS (18) เทคโนโลยีและนวัตกรรม (17) ปพ.5 (.xlsx) (16) โจทย์คณิตศาสตร์ (16) Classroom (14) คำอธิบายรายวิชา (14) สถิติและการวิจัย (14) แผนการจัดการเรียนรู้ (13) ความคิดเห็นของครูบ๋อม (11) วิทยฐานะและการประเมิน (11) ฟังก์ชันลอการิทึม (10) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (10) สิ่งที่น่าสนใจ (9) การประเมินภายในและภายนอก (7) ยุวกาชาด (7) จำนวนเชิงซ้อน (6) ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (6) มส (6) ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/วัตถุประสงค์ (5) SDQ (3) เวกเตอร์ (3) การจัดหมู่ (2) ค32101 (2) ค32201 (2) จำนวนจริง (2) พหุนาม (2) ร่วมรณรงค์/เทศกาล (2) O - Net (1) STAD (1) ZipGrade (1) ZipGrade การวัดและประเมินผล (1) การสร้าง (1) การเรียงสับเปลี่ยน (1) ความน่าจะเป็น (1) ทศนิยม (1) บันทึกข้อความ (1) ลอการิทึม (1) สมการพหุนาม (1) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (1) เลขยกกำลัง (1) เศษส่วน (1) เอกซ์โพเนนเชียล (1) แนะแนวประสาครูบ๋อม (1)

บทความที่ได้รับความนิยมใน 7 วัน